มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - บัณฑิตต้องอบรมตน
สมัยหนึ่ง พระราชาตรัสถามว่า "ท่านรัฐบาลผู้เจริญ คนส่วนใหญ่ออกบวชเพราะว่าแก่ชรา อยากมีที่พึ่งทางใจ เพราะความเจ็บไข้ได้ป่วยบ้าง เพราะเสื่อมจากโภคสมบัติบ้าง จึงอยากมาอาศัยพระศาสนา และเสื่อมจากญาติบ้าง เมื่อเห็นว่าจะไม่มีที่พึ่ง จึงพากันออกบวช แต่ท่านไม่ได้มีความเสื่อมเหล่านั้นเลย แล้วทำไมถึงออกบวชเป็นบรรพชิตเล่า"
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๑)
ดังที่ทราบกันโดยทั่วไปอยู่แล้วว่า พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ตั้งใจศึกษาความรู้ในพระพุทธศาสนา..
เสาร์ที่ 21 ม.ค.นี้ วัดพระธรรมกายจัดพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลสตมวาร (๑๐๐วัน)
ขอเรียนเชิญปวงพสกนิกรร่วมงาน... "พิธีสวดพระพุทธมนต์ บำเพ็ญจิตภาวนา และถวายมหาสังฆทานแด่คณะสงฆ์ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช"
อานิสงส์ถวายดอกกรรณิการ์
ดูก่อนมาณพ เพราะความที่ท่านเป็นผู้ที่มีจิตเลื่อมใส ได้ถวายดอกกรรณิการ์ประดับฉัตร และทานที่ท่านทำก็ละเอียดประณีต ท่านจะได้สมบัติใหญ่ จักเข้าถึงเทวสมบัติเป็นท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่ในดาวดึงส์ ๓๐ ครั้ง จะเป็นพระเจ้าจัรพรรดิที่สมบูรณ์ด้วยจักรพรรดิสมบัติ ๒๑ ครั้ง และจะเป็นพระราชาอีกนับครั้งไม่ถ้วน ในอนาคตกาลท่านจะได้บวชในศาสนาของพระสมณโคดม แล้วจะบรรลุธรรมขั้นสูงสุด
อาจารย์จารุณี ธรรมคุณ
มติ มส.อนุมัติการปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ
มหาเถรสมาคม สรุปการประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๓ เมื่อวันจันทร์ ที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ถึงเรื่องการอนุมัติเกี่ยวกับการปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ ดังนี้
เหล่ากอสมณะ (2)
“ลูกแก้ว” เป็นภาษาพื้นเมืองทางภาคเหนือ หมายถึง “สามเณร” ผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ เป็นศาสนทายาทผู้สืบสานพระพุทธศาสนา และยังมีความหมายถึง “ลูก” ผู้ตระหนักถึงความรัก ความเอาใจใส่ และความหวังดีของพ่อแม่ จึงหมั่นฝึกฝนอบรมตนเอง ให้เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยความรู้และความประพฤติ
โครงการสามเณรทรงพระปาฏิโมกข์ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๖ (รุ่นที่ ๑)
ขอเชิญเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการสามเณรทรงพระปาฏิโมกข์ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๖ (รุ่นที่ ๑) ระหว่างวันที่ ๑๘-๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ อุโบสถพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ธรรมกายต้นแหล่งแห่งความบริสุทธิ์
นักปราชญ์เหล่าใด เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกพุทธเจ้า ผู้มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมากมาย มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งมวลได้ มีจิตโสมนัส มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ความสุขในพระรัตนตรัย
หลังจากที่ท่านปลงผมเสร็จ กำลังจะผลัดผ้าสาฎกออก เพื่อเปลี่ยนมานุ่งห่มชุดของนักบวช ในจังหวะนั้นท่านก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ในทันที เมื่อบรรลุธรรมแล้ว ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องปฏิสัมภิทาญาณ ต่อมาพระบรมศาสดาทรงสถาปนาท่านไว้ในตำแหน่งภิกษุผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้มีความแตกฉานในปฏิสัมภิทาญาณสี่